วันพฤหัสบดีที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2556

ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน

     ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
      1.   ลิมิตของฟังก์ชัน
      ลิมิตของฟังก์ชัน           เป็นการพิจารณาค่า หรือ f(x) ของฟังก์ชันขณะที่ เข้าใกล้จำนวนจริง                                                                                จำนวนใดจำนวนหนึ่ง   
        การเข้าใกล้จำนวนใดจำนวนหนึ่งของค่า มี กรณี
        กรณีที่ 1         เข้าใกล้ทางด้านซ้าย
        กรณีที่ 2         เข้าใกล้ทางด้านขวา
        เช่น                เมื่อ เข้าใกล้ บนเส้นจำนวน



                                                ·    ·    ·    ·    ·    ·    ·    ·    ·
                                               -4   -3    -2    -1    0     1     2     3     4

        การเข้าใกล้ทางด้านซ้าย  หมายถึง จะเริ่มจากค่าที่น้อยกว่า แล้วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ไม่ถึง 0
        การเข้าใกล้ทางด้านขวา   หมายถึง จะเริ่มจากค่าที่มากกว่า แล้วลดลงเรื่อยๆ แต่จะไม่ถึง 0
โดยทั่วไปแล้วในการพิจารณาว่าเมื่อ เข้าใกล้จำนวนจริง ใดๆ   จะพิจารณาทั้งสองกรณี   คือ
เมื่อ     เข้าใกล้ ทางซ้าย   [x < a]                 ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์       a-
และ     เข้าใกล้ ทางขวา   [x > a]                ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์      a+

ตัวอย่างที่ 1           พิจารณาฟังก์ชัน   f(x) = 2x    ขณะที่ เข้าใกล้ 
แบบตาราง
                ด้านซ้ายของ 0                     
x
.....
-3
-2
-1
-0.5
-0.1
.....
y = f(x)
.....
-6
-4
-2
-1
-0.2
.....

                จะเห็นว่าขณะที่ เข้าใกล้  0  ทางด้านซ้าย   ค่าของ f(x) เพิ่มขึ้นและเข้าใกล้ เรียก 
” 0 ว่า ลิมิตซ้ายของ f(x) = 2x เมื่อ เข้าใกล้ ทางด้านซ้าย “  เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 
                ด้านขวาของ 0     
x
.....
3
2
1
0.5
0.1
.....
y = f(x)
.....
6
4
2
1
0.2
.....

                จะเห็นว่าขณะที่ เข้าใกล้ ทางด้านขวา   ค่าของ  f(x)  ลดลงและเข้าใกล้ เรียก 
“0 ว่า ลิมิตขวาของ f(x) = 2x เมื่อ เข้าใกล้ ทางด้านขวา เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  
                      จะเห็นว่าค่าของ  f(x) เข้าใกล้ 0   ขณะที่  เข้าใกล้  ที่ทางด้านซ้ายและด้านขวา  ดังนั้นกล่าวว่า   
“ ฟังก์ชัน  f(x) = 2x   เมื่อ เข้าใกล้ มีลิมิตเท่ากับ 0 “ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์   หรือ 

แบบกราฟ            
                                                                                 y                         f(x) = 2x
                                                                                 6
                                                                                 4
                                                                                 2
                                             
                                                                                    -2
                                                                                    -4
                                                                                    -6        

กรณีทางซ้ายของ 0    :   จะเห็นว่าขณะที่ x เพิ่มขึ้นจนเข้าใกล้ ค่าของ f(x) ก็เพิ่มขึ้นเข้าใกล้ 0
กรณีทางขวาของ 0    :   จะเห็นว่าขณะที่ น้อยลงจนเข้าใกล้ ค่าของ f(x) ก็จะลดลงจนเข้าใกล้ 0

ตัวอย่างที่ 2           พิจารณาฟังก์ชัน   f(x) = x+3    ขณะ เข้าใกล้ 2
แบบตาราง
                ด้านซ้ายของ 2                     
x
.....
1
1.5
1.75
1.85
1.9999
.....
y
.....
4
4.5
4.75
4.85
4.9999
.....
                จะเห็นว่าขณะที่  เข้าใกล้ 2 ทางด้านซ้ายค่าของ f(x) เพิ่มขึ้นและเข้าใกล้ 5    เรียก 
“5 ว่า ลิมิตซ้ายของ f(x) = x+3   เมื่อ เข้าใกล้ ทางด้านซ้าย เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 
                ด้านขวาของ 2     
x
.....
3
2.5
2.25
2.15
2.0001
.....
y
.....
6
5.5
5.25
5.15
5.0001
.....
                จะเห็นว่าขณะที่  เข้าใกล้ 2 ทางด้านขวา   ค่าของ f(x) ลดลงและเข้าใกล้ 5    เรียก 
“5 ว่า ลิมิตขวาของ f(x) = x+3 เมื่อ เข้าใกล้ 2 ทางด้านขวา เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  
                      จะเห็นว่าค่าของ  f(x) เข้าใกล้ 5   ขณะที่ เข้าใกล้ 2 ที่ทางด้านซ้ายและด้านขวา ดังนั้นกล่าวว่า   
ฟังก์ชัน f(x) = x+3   เมื่อ เข้าใกล้ มีลิมิตเท่ากับ 5 “เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์   หรือ 
แบบกราฟ                                                           y
                                                                                 8                                                 f(x) = x+3           
                                                                                 6
                                                                                 4
                                                                                 2
                                             
                                                                               -2
                                                                               -4
                                                                               -6             

กรณีทางซ้ายของ 2    :   จะเห็นว่าขณะที่ x เพิ่มขึ้นจนเข้าใกล้ ค่าของ f(x) ก็เพิ่มขึ้นเข้าใกล้ 5
กรณีทางขวาของ 2    :   จะเห็นว่าขณะที่ น้อยลงจนเข้าใกล้ ค่าของ f(x) ก็จะลดลงจนเข้าใกล้ 5

สำหรับฟังก์ชัน ใดๆ ที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตจำนวนจริง
กล่องข้อความ: x®a-                 ถ้าค่าของ f(x) เข้าใกล้ จำนวนจริง L1 เมื่อ มีค่าเข้าใกล้ ทางด้านซ้าย เรียก “L1 ว่า ลิมิตซ้ายของ ที่ a “เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์   lim f(x) = L1     

กล่องข้อความ: x®a+                 ถ้าค่าของ f(x) เข้าใกล้จำนวนจริง L2 เมื่อ มีค่าเข้าใกล้ ทางด้านขวา เรียก “Lว่าลิมิตขวาของ ที่ a “เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์   lim f(x) = L

กล่องข้อความ: x®a      ถ้า  L1 = L2 = L จะกล่าวว่า ฟังก์ชัน มีลิมิตเป็น ที่ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ lim f(x) = L
แต่ถ้า L1 L2 จะกล่าวว่าฟังก์ชัน ไม่มีลิมิตที่ a
ข้อสังเกต     สำหรับบางฟังก์ชันอาจพบว่าหาค่าของฟังก์ชันเมื่อ x = a ไม่ได้ แต่หาลิมิตของฟังก์ชันได้
ตัวอย่างที่ 3           กำหนดให้    
                                จงหา               1.                                        2.                                        3.  
วิธีทำ                      เขียนกราฟของฟังก์ชันที่กำหนดให้ได้ดังนี้
                                                                                      Y
5-                          y = x2
4-
3-
2-
     y = x+2              1-
                                                            -2     -1        0        1        2       3       4      5                 X
                                               
จากกราฟ        1.   เมื่อ             x 2             จะได้               
                                                2.   เมื่อ             x < 2               จะได้               
                                                3.   เนื่องจาก                 
                                                      ดังนั้น                         

ตัวอย่างที่ 4           จงพิจารณาว่า           มีลิมิตที่ หรือไม่
วิธีทำ                      จาก                         
                                ถ้า   x > 0               จะได้            =      1
                                ถ้า   x < 0                   =     -1      
                                นั้นคือ                                    และ              
                                เนื่องจาก               
                                ดังนั้น                           ไม่มีลิมิตที่ 0
ตัวอย่างที่ 5           กำหนดให้    f(x) = | x2- 4 |     จงหา
                                1.                                     2.          
วิธีทำ                                      จาก         f(x) = | x2- 4 |
                                                จะได้      f(x)  =   x2- 4        เมื่อ      2   หรือ   -2
                                                                         f(x)  =   4 – x2                              เมื่อ      -2 < x < 2
                                                เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ดังนี้
                              Y
4-
3-                                   f(x)
2-
1-
     -3       -2      -1       0     1      2      3                       X

                                               
                                จากกราฟจะได้       1.   
                                                                2.    

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น